Toggle navigation
หน้าแรก
ดาวน์โหลด
ฟรีดาวน์โหลดหนังสือและหลักสูตร
หนังสือสุขศึกษาประถมศึกษา
หนังสือสุขศึกษามัธยมศึกษา
หลักสูตรเพศวิถีศึกษา
หนังสือของโครงการ
โปสเตอร์และ Infographic
คลิปวิดีโอการสอน
หนังสั้น เพศศึกษา
เกมเพศศึกษา
Sex change
สื่อสังวาส
ข่าว/บทความ
สาระชวนรู้ เพศศึกษารอบด้าน
ข่าวเรื่องเพศศึกษา
ข่าวประชาสัมพันธ์
คุยเรื่องเพศกับพระชาย
ข้ามเส้น คิดนอกกรอบ
บทความเยาวชน
บทกวีเขาเราเอามาเขียน
ธรรมใจไดอารี่
เกมเพศศึกษา
วาไรตี้
ทีนแพธวาไรตี้
หนังน่าดู เพลงความหมายดี
แนะนำหนังสือ
เกมทายใจ
เคล็ดลับเพื่อสุขภาพ
ดูดวงฟรี
คู่มือวัยรุ่น
ก้าวย่างอย่างเข้าใจ
เพศวิถีศึกษา เพศศึกษารอบด้าน
ข่าวโครงการ
ฅ.ฅนก้าวย่าง
รู้จักสถานศึกษา
คลังข้อมูลวิชาการ
ครูเพศศึกษาหัวใจไอที
ฐานข้อมูลเพศศึกษา
เว็บบอร์ด
ถามตอบสุขภาพ วัยรุ่น
ฝากคำถามใหม่
ปรึกษาวัยรุ่น ลูกที่ปรึกษา
สอนรักสลักใจ
คลังคำถามเรื่องเพศ
ฅ.ฅนก้าวย่าง
Share
หมวด:
ไม่ระบุ
ผู้บริหาร
ครู
เยาวชน
คนทำงานและคนรอบข้างโครงการ
หน้าที่:
1
2
แนวทางการขับเคลื่อนงานเพศวิถีศึกษา
โดย: โครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจ
[11 มีนาคม 2556]
(คลิก: 2,622 / ความคิดเห็น: 1)
สุวณี ไชยศักดิ์
ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาจังหวัดสตูล
โดย: โครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจ
[16 พฤศจิกายน 2555]
(คลิก: 2,694 / ความคิดเห็น: 1)
มานะ ลอศิริกุล
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น
แกนนำคณะทำงานเพศศึกษาจังหวัดขอนแก่น
จัดทัพนักดูแลสุขภาวะทางเพศให้มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์การเคลื่อนงานจากเมืองแก่นนคร
..คนเหล่านี้มีความคุ้นเคยกับงานอยู่แล้ว เมื่อประสานเข้าไป จึงได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี มีทั้งเครือข่ายผู้แทนขององค์การบริหารส่วนจังหวัด ผู้แทนของเทศบาลนคร ซึ่งดูแลพื้นที่ขนาดใหญ่ ที่คอยแนะนำช่องทางด้านงบประมาณสนับสนุน..
โดย: กาญจนาถ อุดมสุข
[31 สิงหาคม 2555]
(คลิก: 2,903 / ความคิดเห็น: 1)
ดร. วจี ปัญญาใส
ปัจจุบัน อาจารย์คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
อดีตรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ โรงเรียนน้ำปาดชูปถัมภ์ จังหวัดอุตรดิตถ์
โดย: พสุภา ชินวรโสภาค
[26 มิถุนายน 2555]
(คลิก: 4,140 / ความคิดเห็น: 2)
แนะนำคณะทำงานเพศวิถีศึกษา ๔๓ จังหวัด
ภาคกลาง - ตะวันตก , ภาคตะวันออก , ภาคเหนือ , ภาคอีสาน , ภาคใต้
[30 พฤษภาคม 2555]
(คลิก: 24,365 / ความคิดเห็น: 14)
จินตนา จิตนารินทร์
อดีตรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ โรงเรียนธีรกานต์บ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน "เพศศึกษาสอนความจริง ไม่ได้สอนให้เด็กต่อต้านความเป็นจริง"
โดย: พสุภา ชินวรโสภาค
[26 เมษายน 2555]
(คลิก: 3,425 / ความคิดเห็น: 3)
จีระนันท์ เสนาจักร์
เพศศึกษาไม่เหมือนสร้างตึก เพราะเห็นผลช้า
งานนี้เป็นงานคุณภาพที่เห็นผลช้า เพราะเกิดกับคน ไม่เหมือนการสร้างตึก ที่ต้องใช้งบประมาณ แต่เห็นผลเร็ว
โดย: พรรณอุมา สีหะจันทร์
[7 กันยายน 2554]
(คลิก: 4,506 / ความคิดเห็น: 1)
พรภัทรา จำเริญ
สร้างเด็กให้มีคุณภาพ ต้องสร้างครูที่มีคุณภาพก่อน
คิดว่าการเอาลงหลักสูตร ให้คนเรียนทั้งหมดอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างเด็กให้มีคุณภาพ ต้องเริ่มจากการสร้างครูที่มีคุณภาพก่อน
โดย: พรรณอุมา สีหะจันทร์
[1 กันยายน 2554]
(คลิก: 3,475 / ความคิดเห็น: 8)
บัวเรศ ศรีประทักษ์
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
ผมไม่ศรัทธาการสอนในระบบที่จะให้เด็กมีความรู้ เพราะเรื่องพวกนี้เป็นเรื่องพฤติกรรมสุขภาพ ถ้าเราจะสอนพฤติกรรมสุขภาพ เราต้องสอนเรื่องทัศนคติในการดำรงชีวิต
โดย: พรรณอุมา สีหะจันทร์
[8 ตุลาคม 2553]
(คลิก: 3,865 / ความคิดเห็น: 9)
กำไล สมรักษ์
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ หัวหน้ากลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช
ความยั่งยืนในเรื่องสุขภาวะทางเพศนั้น ต้องเกิดจากชุมชนไม่มองแยกส่วน แต่ต้องทำไปด้วยกัน เพราะปัญหาหนึ่งเรื่องส่งผลกระทบไปทุกเรื่อง
โดย: พรรณอุมา สีหะจันทร์
[11 พฤษภาคม 2553]
(คลิก: 3,438 / ความคิดเห็น: 9)
สุนัฏฐา เจริญผล
เพศศึกษา ๑๖ คาบ/ปี... จัดได้ ไม่ยากเลย
"โรงเรียนจะต้องมีความตระหนัก เห็นคุณค่าของการสอนเพศศึกษา โดยไม่กังวลใจว่าใครจะคิดอย่างไร และเชื่อมั่นว่าเมื่อเด็กเรียนรู้เรื่องนี้แล้ว จะเป็นประโยชน์กับเด็กจริง โรงเรียนหรือครูต้องฝ่าด่านของสังคมที่ตีกรอบไว้ว่าเพศศึกษาคือเพศสัมพันธ์ เรื่องเพศเป็นเรื่องไม่ดี ชี้โพรงฯ ให้ได้ก่อน ซึ่งเรื่องนี้ต้องใช้เวลาและใช้ต้นทุนใจเป็นเดิมพัน"
โดย: กษมา สัตยาหุรักษ์
[26 กุมภาพันธ์ 2553]
(คลิก: 3,115 / ความคิดเห็น: 7)
สุกานดา ตั้งใจ หรือ “ป้าผิว”
ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ชุมชนเมืองเก่า เทศบาลเมืองชัยภูมิ จ.ชัยภูมิ
หนึ่งในผู้ผลักดันให้เกิดแกนนำเยาวชนเพศศึกษาในเขตเทศบาลเมือง
โดย: พรรณอุมา สีหะจันทร์
[24 มีนาคม 2552]
(คลิก: 3,638 / ความคิดเห็น: 1)
รศ. ดร. เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผู้ประสานงานโครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจ ภาคใต้
“คงต้องรอให้ถึงวันที่วิชาเพศศึกษาเป็นวิชาที่ต้องใช้เอ็นทรานซ์ หรือเป็นเหมือนการแข่งกีฬาโอลิมปิก”
โดย: อรพิณ ยิ่งยงพัฒนา
[15 มกราคม 2552]
(คลิก: 5,722 / ความคิดเห็น: 2)
มงคล อินทนา
ผู้พิพากษาสมทบ แผนกคดีเยาวชนและครอบครัว ศาลจังหวัดลำปาง และผู้ประนีประนอมประจำศาลแขวงลำปาง
การได้มีโอกาสเข้ามาร่วมรับการอบรมเพื่อทำความเข้าใจกับประเด็นเพศศึกษาในโรงเรียน ทำให้เห็นการทำงานเชื่อมต่อกับเครือข่ายโรงเรียนชัดเจนขึ้น
โดย: กษมา สัตยาหุรักษ์
[4 พฤศจิกายน 2551 เวลา 23:25:11]
(คลิก: 4,861 / ความคิดเห็น: 9)
จำเนียร มานะกล้า
นักวิชาการสาธารณสุข โรงพยาบาลปะเหลียน จ.ตรัง
โครงการที่เธอลุกขึ้นมาทำหน้าที่เป็นเจ้าภาพในอำเภอปะเหลียน อาจจะเป็นเหมือนแสงสว่างดวงเล็กๆ ในพื้นที่ แต่ก็เป็นความหวังที่โครงการฯ เองเฝ้ามองหามาเสมอว่า เมื่อไหร่จะมีหน่วยงานในพื้นที่เห็นความสำคัญของการทำงานเพศศึกษาและออกมายืนเคียงข้าง เพื่อร่วมไปในทางเดียวกันบ้าง
โดย: กษมา สัตยาหุรักษ์
[20 สิงหาคม 2551 เวลา 21:50:01]
(คลิก: 3,400 / ความคิดเห็น: 1)
สมยศ พงษ์เฉลียวรัตน์ และ วรศิลป์ พวงสวัสดิ์
ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลำปาง ๑ และ ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ ๑
โดยส่วนตัว ผมอยากให้ศึกษานิเทศก์ทุกคนมีความเข้าใจในสาระเนื้อหาเรื่องเพศศึกษาที่เราทำกันไปในทางเดียวกันไม่ต่างจากครูในโรงเรียน เมื่อเขาต้องไปกำกับ ไปชี้แนะ เขาจึงควรต้องรู้เรื่องนี้อย่างกระจ่างเช่นกัน
โดย: กษมา สัตยาหุรักษ์
[24 กรกฎาคม 2551 เวลา 01:54:20]
(คลิก: 4,212 / ความคิดเห็น: 1)
มนต์สุดา เกรียงไกร
ผู้อำนวยการศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอป่าโมก จ.อ่างทอง
“การโค้ชที่ดี ต้องทำให้ครูสบายใจขึ้น มีกำลังใจที่จะพัฒนาตัวเอง ไม่ใช่ถูกโค้ชแล้วรู้สึกอึดอัดใจ...ถ้าผู้บริหารเปลี่ยนมุมมองในการทำงานให้ใช้การโค้ชแทนการนิเทศ ซึ่งไม่ใช่แค่เรื่องการสอนอย่างเดียว ยังนำมาใช้ในเรื่องการทำงานร่วมกันได้ด้วย การโค้ชจะทำให้เรากับเพื่อนร่วมงานมีความใกล้ชิด เข้าใจกันมากขึ้น”
โดย: กษมา สัตยาหุรักษ์
[1 มิถุนายน 2551 เวลา 06:13:01]
(คลิก: 3,834 / ความคิดเห็น: 9)
จิรังกูร ณัฐรังสี หรือ “พี่ตุ่น” และ อรอินทร์ ขำคม หรือ “พี่อร”
พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ จ.อุบลราชธานี ผู้ช่วยผู้ประสานงานโครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
“รากเหง้าของสังคมไทย เรื่องเพศเป็นเรื่องที่ต้องห้าม เลยทำให้คนเหล่านั้นขาดโอกาสที่จะเรียนรู้ สิ่งท้าทายก็คือทำยังไงจะจุดประเด็น เปิดโอกาสให้คนที่ยังไม่เคยสัมผัส ให้เขามีโอกาสได้เรียนรู้ แล้วก็ทำความเข้าใจกับมัน”
โดย: พรรณอุมา สีหะจันทร์
[8 มีนาคม 2551 เวลา 00:20:08]
(คลิก: 4,304 / ความคิดเห็น: 7)
กุสุมา มีศิลป์ หรือ “พี่ปุ๊กกี้”
พยาบาลวิชาชีพ ๗ กลุ่มงานจิตเวช โรงพยาบาลศรีสะเกษ วิทยากรหลักของโครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจ
พี่ไปให้ความรู้เรื่องเพศ เรื่องเอดส์...พี่ก็จะนำกิจกรรมต่างๆ ที่ได้จากการอบรมของก้าวย่างฯ ไปใช้ เพราะพี่ ‘ซื้อ’ กระบวนการของก้าวย่างที่ทำให้คนได้เห็นและเข้าใจมิติเรื่องเพศว่าเกี่ยวข้องกับชีวิตอย่างไรบ้าง
โดย: กษมา สัตยาหุรักษ์
[5 มีนาคม 2551 เวลา 23:43:06]
(คลิก: 4,330 / ความคิดเห็น: 4)
จุรีพร มุนีโมไนย หรือ “พี่แดง”
หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและการจัดกระบวนการเรียนรู้ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จ.ตรัง เขต ๑
“พี่น่ะไม่ค่อยเห็นด้วยกับรูปแบบการโค้ชของก้าวย่างฯ ที่เน้นให้ไปสังเกตการสอน เพราะเราจะลงไปสังเกตการณ์สอนได้ก็ต่อเมื่อครูยอมรับเราแล้ว”
โดย: กษมา สัตยาหุรักษ์
[25 กุมภาพันธ์ 2551 เวลา 21:21:51]
(คลิก: 3,810 / ความคิดเห็น: 2)
เกษมศรี อัศวศรีพงศ์ธร
สาขาจิตวิทยาและการแนะแนว มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
“...อย่าไปท้อถอยกับอาชีพครู ดิฉันเองสอนเด็กห้องหนึ่ง ๕๐ คน เวลาสอน เราเชื่อเสมอว่าจะได้เจอเพชรในห้องนั้น อย่างน้อยรุ่นหนึ่งได้มา ๕ คนก็พอแล้วสำหรับดิฉัน”
โดย: กษมา สัตยาหุรักษ์
[18 มกราคม 2551 เวลา 11:44:46]
(คลิก: 5,215 / ความคิดเห็น: 2)