หนังสือสุขศึกษา ม.๑
เรื่องที่คุณอาจสนใจ
หลักการสำคัญของการให้การศึกษาเรื่องเพศและสุขศึกษา (PUBERTY AND HEALTH EDUCATION – PHE) ที่ครอบคลุมประเด็นเพศสภาพที่หลากหลาย [5 เมษายน 2562]
โดยทั่วไป การให้การศึกษาเรื่องเพศและสุขศึกษา (PHE) เป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกายเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น ลักษณะเฉพาะของเพศหญิงชาย อารมณ์ และความสัมพันธ์ แต่ประเด็น เพศสภาพ (Gender) กลับไม่ได้รับความสำคัญ หรือถูกกล่าวถึงน้อยมาก แม้กระทั่งในหลักสูตรสุขศึกษาที่มีเนื้อหาครอบคลุมรอบด้าน
การให้การศึกษาเรื่องเพศและสุขศึกษา (PHE)...
ยุติการตั้งครรภ์ ถือว่าบาปหรือไม่
ผู้หญิงที่ยุติการตั้งครรภ์อาจมีความรู้สึกทั้งโล่งใจที่แก้ปัญหาให้คลี่คลายไป แต่ก็อาจรู้สึกหดหู่ใจอันเนื่องมาจากความรู้สึกที่ต้องตัดสินใจยุติการเติบโตของตัวอ่อนในท้องไป เราจะไม่ใช้คำว่า “ทารก” หรือ “เด็ก” เพราะสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในครรภ์เป็นเพียงตัวอ่อน เราจะไม่ใช้คำว่า “แม่”...
ค.คนก้าวย่าง
การผลักดันเพศศึกษาให้เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อให้เยาวชนของเราได้เรียนรู้และเข้าใจพัฒนาการทางเพศของตน และคนรอบข้างสามารถจัดวางสัมพันธภาพกับคนอื่น จัดการกับความรู้สึกทุกข์สุขของตนได้อย่างเหมาะสม เข้าใจว่าจะดูแลสุขภาพทางเพศ มีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย ไตร่ตรองกับผลที่จะตามมา โดยตระหนักถึงความคาดหวังทางสังคมวัฒนธรรมที่มีต่อเรื่องเพศ รวมทั้งรับผิดชอบได้โดยไม่เป็นภาระแก่คนอื่น งานเช่นนี้ไม่ง่ายโดยเฉพาะในสังคมไทยซึ่งสิ่งที่ถูกพร่ำสอนว่า คือความดีงาม พึงมี พึงเป็นในเรื่องเพศกับการกระทำของคนจำนวนมากในสังคม ปรากฏให้เห็นเป็นความขัดแย้งได้ตลอดเวลา...
กังวลเรื่องจู๋..ที่ไม่อยากจุ๊ดจู๋
เด็กหนุ่มมักเกิดความกังวลใจเรื่องขนาด "จู๋" ของพวกเขา หลายคนมักคิดว่าอวัยวะเพศของตนเองเล็กกว่าของคนอื่นๆ อยู่เรื่อย ความจริงขนาดขององคชาตินี้อาจแตกต่างกันไปในแต่ละคนซึ่งเป็นไปตามธรรมชาติทั้งในเรื่องขนาดเล็ก-ใหญ่ และความสั้น-ยาว แต่สิ่งเหล่านี้ก็ไม่ได้มีผลต่อเรื่องการมีเพศสัมพันธ์และการบรรลุถึงจุดสุดยอดของทั้งหญิงและชายอย่างที่หลายคนมักเข้าใจผิดและวิตกกังวลกัน
หากคุณเข้าใจว่าเพศสัมพันธ์ที่ดีไม่ใช่แค่เรื่องการสอดใส่อวัยวะเพศเท่านั้น แต่ยังหมายถึงการเรียนรู้ที่จะเป็น "คู่รัก" ที่ดีด้วย นั่นคือ รู้จักการดูแลเอาใจใส่แฟนคุณ เรียนรู้การเล้าโลม...
ประจำเดือน…ใช่เลือดเสียหรือเปล่า
ผู้หญิงเมื่อเริ่มเข้าสู่วัยสาว รังไข่ทั้งสองข้างที่ติดกับมดลูกจะเจริญเติบโตเต็มที่และพร้อมที่จะผลิตไข่ออกมาทุกเดือน โดยปกติจะมีไข่ตกจากรังไข่เดือนละ 1 ฟองสลับกันเดือนละข้าง เมื่อไข่ตกจะเคลื่อนตัวเข้าสู่ท่อนำไข่และไปฝังตัวที่ผนังมดลูก ซึ่งจะมีลักษณะหนาขึ้นเพราะสะสมสารอาหารต่างๆ เอาไว้สำหรับเลี้ยงตัวอ่อน หากไข่ไม่ได้ผสมกับเชื้ออสุจิ (ซึ่งอาจเป็นเพราะไม่ได้มีเพศสัมพันธ์ หรือมีเพศสัมพันธ์โดยมีการป้องกันการตั้งครรภ์) จะทำให้ผนังมดลูกนี้เกิดการหลุดลอกออกมาพร้อมกับไข่และจะมีเลือดปนออกมาด้วย เราเรียกว่า "ประจำเดือน" ประจำเดือนจึงไม่ใช่เลือดเสียที่ร่างกายขับถ่ายออกมาอย่างที่หลายคนเข้าใจ...