คู่มือสำหรับกระบวนกรเพื่อจัดกิจกรรม เปิดห้องเรียนพ่อแม่คุยกับลูกยุคนี้

0
มูลนิธิแพธทูเฮลท์ (path2health foundation-P2H) เป็นองค์กรพัฒนาเอกชนสาธารณประโยชน์ ที่จดทะเบียนในประเทศไทยเมื่อ 2 พฤษภาคม 2556 ก่อนหน้านี้ดำเนินงานในนามองค์การแพธ (ประเทศไทย) มาตั้งแต่ปี 2528 โดยได้ร่วมมือกับภาครัฐอาทิ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงแรงงาน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถานศึกษา มหาวิทยาลัย ฯลฯ องค์กรพัฒนาเอกชน ตลอดจนภาคธุรกิจ และองค์กรชุมชนพัฒนาความรู้...

เทคนิคคุยกับลูกเรื่องเพศ ฉบับเข้าใจลูก

0
"เรื่องเพศ" ทำไมต้องคุย?เด็กยุคนี้มีความเสี่ยงเรื่องเพศมากกว่าเดิม เด็กยิ่งเสี่ยง ผู้ใหญ่ยิ่งต้องดูแล แต่วิธีเลี้ยงลูกที่เคยใช้กันมาไม่ได้ผล เราเลยต้องเลือกวิธีใหม่ ที่เหมาะกับลูกยุคใหม่ในโลกยุคใหม่ "โลกเปลี่ยนแปลง ลูกเปลี่ยนไป"โลกและเด็กสมัยนี้ไม่เหมือนสมัยเรา วิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป ทำให้ความคิด ค่านิยม และการกระทำของเด็กยุคใหม่แตกต่างจากเด็กสมัยก่อน ความเชื่อและคำสอนยุคเก่าเอง บางครั้งก็ไม่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยวิทยาศาสตร์ หนึ่งในเรื่องที่แตกต่างแน่ๆ ของยุคนี้ คือ มีสื่อออนไลน์ ที่เด็กๆ เข้าถึงได้ง่ายตั้งแต่ยังเล้ก และบางครั้งอาจรู้ไม่เท่าทัน

หลักสูตรอบรมเพศวิถีศึกษาออนไลน์ (ฟรี)

0
หลักสูตรการจัดการเรียนรู้เพศวิถีศึกษาชุดนี้ พัฒนาขึ้นสำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับมอบหมายให้จัดการเรียนรู้เพศวิถีศึกษา ศึกษานิเทศก์ และนักวิชาการทุกคน ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๕ และ ๖ และกฎกระทรวงกำหนดประเภทของสถานศึกษาและการดำเนินการของสถานศึกษาในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ ๒๕๖๑ ซึ่งออกตามพระราชบัญญัติดังกล่าว ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่จบหลักสูตรนี้ จะสามารถอธิบายความจำเป็นและขอบข่ายของการจัดการเรียนรู้เพศวิถีศึกษาได้ สามารถออกแบบและจัดการปัจจัยที่เอื้อต่อการเรียนรู้เพศวิถีศึกษาได้ ...

บทเรียนโครงการไม่รังแกกัน (No Bullying)

0
หนังสือบทเรียนโครงการป้องกันและลดการใช้ความรุนแรงและการรังแกกันในสถานศึกษา หรือ โครงการไม่รังแกกัน เล่มนี้ มูลนิธิแพธทูเฮลท์ ตั้งใจที่จะจัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอบทเรียนสำคัญในการดำเนินโครงการฯ อันจะเป็นประโยชน์ต่อบุคลากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่จะใช้บทเรียนของโครงการฯ ไปต่อยอดการทำงาน โดยเฉพาะในบริบทของสถานศึกษา ที่มีเป้าหมายที่จะทำให้สถานศึกษาเป็นพื้นที่ที่ปลอดภัยสำหรับเด็กและเยาวชนทุกคน และเพื่อเป็นการป้องกันและลดการใช้ความรุนแรงและการรังแกกันทุกรูปแบบที่อาจจะเกิดขึ้นในสถานศึกษา หนังสือเล่มนี้จะเกิดขึ้นไม่ได้ หากไม่ได้รับการสนับสนุนจาก องค์การแพลนอินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย และองค์การ การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือ UNESCO โดยเฉพาะความร่วมมือในการให้ข้อมูลจาก ผู้บริหาร ครู และนักเรียน...

คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับสุขภาวะ

0
"ความรอบรู้ด้านสุขภาพ" (health literacy) หมายถึง การมีความรู้และทักษะในการเข้าถึงข้อมูลและสามารถใช้ข้อมูลความรู้นั้น เพื่อการมีสุขภาพที่ดีหรือมีสุขภาวะ รวมถึงการจัดปัจจัยแวดล้อมให้ส่งผลต่อการสร้างเสริมสุขภาพ สุขภาพจึงมีนัยถึงการเสริมพลังอำนาจ (empowerment) ให้บุคคลรู้จักเลือกดูแลตนเอง และร่วมกันกับผู้อื่นเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน สังคม และโลก ให้เกิดเงื่อนไขที่เหมาะสมต่อการมีสุขภาพที่ดี หรือนำไปสู่สุขภาวะ (wellness) ซึ่งเป็นผลลัพธ์ที่คาดหวังจากการสร้างทักษะสำหรับศตวรรษที่ ๒๑ ครูสุขภาวะหรือครูผู้รับผิดชอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านสุขภาพ จึงต้องมีทักษะที่จะช่วยเสริมพลังอำนาจแก่ผู้เรียน และสร้างความรับผิดชอบและปลอดภัยต่อตัวเอง มีความสามารถออกแบบการเรียนรู้ที่ยืดหยุ่น สอดคล้องกับสภาพความต้องการของผู้เรียน เปิดใจหรือมีทัศคติที่เป็นเชิงบวกต่อการจัดการเรียนรู้ในประเด็นที่เป็นพฤติกรรมเสี่ยงของเด็กและเยาวชน เช่น...

การจัดการความเครียด

0
โดยคุณหมอประเวช ตันติพิวัฒนสกุล

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานสุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ปรับปรุงใหม่)

0
การมีสุขภาพที่ดี และมีสุขภาวะเป็นภาวะที่สมบูรณ์ในทุกด้านทั้งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมสติปัญญาหรือจิตวิญญาณ ไม่ใช่เพียงการไม่มีโรคภัยไข้เจ็บเพียงเท่านั้น การสร้างเสริมสุขภาวะจึงเป็นหน้าที่รับผิดชอบตนเองของทุกคน สุขศึกษาเป็นรายวิชาที่จะช่วยทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงแนวคิด หลักการและวิธีการที่จำเป็นเบื้องต้นในการสร้างเสริม ดูแล และป้องกันโรคและอันตรายต่อสุขภาพ หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงทุกรูปแบบ ที่จะทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพในการดำรงชีวิตประจำวันของตัวเรา นอกจากเนื้อหาความรู้ที่จำเป็น ทั้งหลักปฏิบัติเบื้องต้นด้านพฤติกรรมสุขภาพ การกิน การอยู่การดูแลสุขอนามัย การเคลื่อนไหวออกกำลังกาย หรือครบมิติสุขภาพด้านกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมจิตวิญญาณ ตัวเราต้องตระหนักถึงการลดหรือควบคุมพฤติกรรมเสี่ยงจากพฤติกรรมทางเพศ พฤติกรรมเสพติดและการใช้สารเสพติด พฤติกรรมรุนแรง...

สาระสุขศึกษา ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ปรับปรุงใหม่)

0
การมีสุขภาพที่ดี และมีสุขภาวะเป็นภาวะที่สมบูรณ์ในทุกด้านทั้งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมสติปัญญาหรือจิตวิญญาณ ไม่ใช่เพียงการไม่มีโรคภัยไข้เจ็บเพียงเท่านั้น การสร้างเสริมสุขภาวะจึงเป็นหน้าที่รับผิดชอบตนเองของทุกคน สุขศึกษาเป็นรายวิชาที่จะช่วยทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงแนวคิด หลักการและวิธีการที่จำเป็นเบื้องต้นในการสร้างเสริม ดูแล และป้องกันโรคและอันตรายต่อสุขภาพ หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงทุกรูปแบบ ที่จะทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพในการดำรงชีวิตประจำวันของตัวเรา นอกจากเนื้อหาความรู้ที่จำเป็น ทั้งหลักปฏิบัติเบื้องต้นด้านพฤติกรรมสุขภาพ การกิน การอยู่การดูแลสุขอนามัย การเคลื่อนไหวออกกำลังกาย หรือครบมิติสุขภาพด้านกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมจิตวิญญาณ ตัวเราต้องตระหนักถึงการลดหรือควบคุมพฤติกรรมเสี่ยงจากพฤติกรรมทางเพศ พฤติกรรมเสพติดและการใช้สารเสพติด พฤติกรรมรุนแรง...

สาระสุขศึกษา ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 (ปรับปรุงใหม่)

0
การมีสุขภาพที่ดี และมีสุขภาวะเป็นภาวะที่สมบูรณ์ในทุกด้านทั้งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมสติปัญญาหรือจิตวิญญาณ ไม่ใช่เพียงการไม่มีโรคภัยไข้เจ็บเพียงเท่านั้น การสร้างเสริมสุขภาวะจึงเป็นหน้าที่รับผิดชอบตนเองของทุกคน สุขศึกษาเป็นรายวิชาที่จะช่วยทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงแนวคิด หลักการและวิธีการที่จำเป็นเบื้องต้นในการสร้างเสริม ดูแล และป้องกันโรคและอันตรายต่อสุขภาพ หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงทุกรูปแบบ ที่จะทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพในการดำรงชีวิตประจำวันของตัวเรา นอกจากเนื้อหาความรู้ที่จำเป็น ทั้งหลักปฏิบัติเบื้องต้นด้านพฤติกรรมสุขภาพ การกิน การอยู่การดูแลสุขอนามัย การเคลื่อนไหวออกกำลังกาย หรือครบมิติสุขภาพด้านกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมจิตวิญญาณ ตัวเราต้องตระหนักถึงการลดหรือควบคุมพฤติกรรมเสี่ยงจากพฤติกรรมทางเพศ พฤติกรรมเสพติดและการใช้สารเสพติด พฤติกรรมรุนแรง...

สาระสุขศึกษา ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ปรับปรุงใหม่)

0
การมีสุขภาพที่ดี และมีสุขภาวะเป็นภาวะที่สมบูรณ์ในทุกด้านทั้งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมสติปัญญาหรือจิตวิญญาณ ไม่ใช่เพียงการไม่มีโรคภัยไข้เจ็บเพียงเท่านั้น การสร้างเสริมสุขภาวะจึงเป็นหน้าที่รับผิดชอบตนเองของทุกคน สุขศึกษาเป็นรายวิชาที่จะช่วยทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงแนวคิด หลักการและวิธีการที่จำเป็นเบื้องต้นในการสร้างเสริม ดูแล และป้องกันโรคและอันตรายต่อสุขภาพ หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงทุกรูปแบบ ที่จะทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพในการดำรงชีวิตประจำวันของตัวเรา นอกจากเนื้อหาความรู้ที่จำเป็น ทั้งหลักปฏิบัติเบื้องต้นด้านพฤติกรรมสุขภาพ การกิน การอยู่การดูแลสุขอนามัย การเคลื่อนไหวออกกำลังกาย หรือครบมิติสุขภาพด้านกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมจิตวิญญาณ ตัวเราต้องตระหนักถึงการลดหรือควบคุมพฤติกรรมเสี่ยงจากพฤติกรรมทางเพศ พฤติกรรมเสพติดและการใช้สารเสพติด พฤติกรรมรุนแรง...