คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับสุขภาวะ

0
"ความรอบรู้ด้านสุขภาพ" (health literacy) หมายถึง การมีความรู้และทักษะในการเข้าถึงข้อมูลและสามารถใช้ข้อมูลความรู้นั้น เพื่อการมีสุขภาพที่ดีหรือมีสุขภาวะ รวมถึงการจัดปัจจัยแวดล้อมให้ส่งผลต่อการสร้างเสริมสุขภาพ สุขภาพจึงมีนัยถึงการเสริมพลังอำนาจ (empowerment) ให้บุคคลรู้จักเลือกดูแลตนเอง และร่วมกันกับผู้อื่นเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน สังคม และโลก ให้เกิดเงื่อนไขที่เหมาะสมต่อการมีสุขภาพที่ดี หรือนำไปสู่สุขภาวะ (wellness) ซึ่งเป็นผลลัพธ์ที่คาดหวังจากการสร้างทักษะสำหรับศตวรรษที่ ๒๑ ครูสุขภาวะหรือครูผู้รับผิดชอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านสุขภาพ จึงต้องมีทักษะที่จะช่วยเสริมพลังอำนาจแก่ผู้เรียน และสร้างความรับผิดชอบและปลอดภัยต่อตัวเอง มีความสามารถออกแบบการเรียนรู้ที่ยืดหยุ่น สอดคล้องกับสภาพความต้องการของผู้เรียน เปิดใจหรือมีทัศคติที่เป็นเชิงบวกต่อการจัดการเรียนรู้ในประเด็นที่เป็นพฤติกรรมเสี่ยงของเด็กและเยาวชน เช่น...

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานสุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ปรับปรุงใหม่)

0
การมีสุขภาพที่ดี และมีสุขภาวะเป็นภาวะที่สมบูรณ์ในทุกด้านทั้งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมสติปัญญาหรือจิตวิญญาณ ไม่ใช่เพียงการไม่มีโรคภัยไข้เจ็บเพียงเท่านั้น การสร้างเสริมสุขภาวะจึงเป็นหน้าที่รับผิดชอบตนเองของทุกคน สุขศึกษาเป็นรายวิชาที่จะช่วยทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงแนวคิด หลักการและวิธีการที่จำเป็นเบื้องต้นในการสร้างเสริม ดูแล และป้องกันโรคและอันตรายต่อสุขภาพ หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงทุกรูปแบบ ที่จะทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพในการดำรงชีวิตประจำวันของตัวเรา นอกจากเนื้อหาความรู้ที่จำเป็น ทั้งหลักปฏิบัติเบื้องต้นด้านพฤติกรรมสุขภาพ การกิน การอยู่การดูแลสุขอนามัย การเคลื่อนไหวออกกำลังกาย หรือครบมิติสุขภาพด้านกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมจิตวิญญาณ ตัวเราต้องตระหนักถึงการลดหรือควบคุมพฤติกรรมเสี่ยงจากพฤติกรรมทางเพศ พฤติกรรมเสพติดและการใช้สารเสพติด พฤติกรรมรุนแรง...

สาระสุขศึกษา ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ปรับปรุงใหม่)

0
การมีสุขภาพที่ดี และมีสุขภาวะเป็นภาวะที่สมบูรณ์ในทุกด้านทั้งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมสติปัญญาหรือจิตวิญญาณ ไม่ใช่เพียงการไม่มีโรคภัยไข้เจ็บเพียงเท่านั้น การสร้างเสริมสุขภาวะจึงเป็นหน้าที่รับผิดชอบตนเองของทุกคน สุขศึกษาเป็นรายวิชาที่จะช่วยทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงแนวคิด หลักการและวิธีการที่จำเป็นเบื้องต้นในการสร้างเสริม ดูแล และป้องกันโรคและอันตรายต่อสุขภาพ หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงทุกรูปแบบ ที่จะทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพในการดำรงชีวิตประจำวันของตัวเรา นอกจากเนื้อหาความรู้ที่จำเป็น ทั้งหลักปฏิบัติเบื้องต้นด้านพฤติกรรมสุขภาพ การกิน การอยู่การดูแลสุขอนามัย การเคลื่อนไหวออกกำลังกาย หรือครบมิติสุขภาพด้านกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมจิตวิญญาณ ตัวเราต้องตระหนักถึงการลดหรือควบคุมพฤติกรรมเสี่ยงจากพฤติกรรมทางเพศ พฤติกรรมเสพติดและการใช้สารเสพติด พฤติกรรมรุนแรง...

สาระสุขศึกษา ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 (ปรับปรุงใหม่)

0
การมีสุขภาพที่ดี และมีสุขภาวะเป็นภาวะที่สมบูรณ์ในทุกด้านทั้งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมสติปัญญาหรือจิตวิญญาณ ไม่ใช่เพียงการไม่มีโรคภัยไข้เจ็บเพียงเท่านั้น การสร้างเสริมสุขภาวะจึงเป็นหน้าที่รับผิดชอบตนเองของทุกคน สุขศึกษาเป็นรายวิชาที่จะช่วยทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงแนวคิด หลักการและวิธีการที่จำเป็นเบื้องต้นในการสร้างเสริม ดูแล และป้องกันโรคและอันตรายต่อสุขภาพ หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงทุกรูปแบบ ที่จะทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพในการดำรงชีวิตประจำวันของตัวเรา นอกจากเนื้อหาความรู้ที่จำเป็น ทั้งหลักปฏิบัติเบื้องต้นด้านพฤติกรรมสุขภาพ การกิน การอยู่การดูแลสุขอนามัย การเคลื่อนไหวออกกำลังกาย หรือครบมิติสุขภาพด้านกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมจิตวิญญาณ ตัวเราต้องตระหนักถึงการลดหรือควบคุมพฤติกรรมเสี่ยงจากพฤติกรรมทางเพศ พฤติกรรมเสพติดและการใช้สารเสพติด พฤติกรรมรุนแรง...

สาระสุขศึกษา ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ปรับปรุงใหม่)

0
การมีสุขภาพที่ดี และมีสุขภาวะเป็นภาวะที่สมบูรณ์ในทุกด้านทั้งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมสติปัญญาหรือจิตวิญญาณ ไม่ใช่เพียงการไม่มีโรคภัยไข้เจ็บเพียงเท่านั้น การสร้างเสริมสุขภาวะจึงเป็นหน้าที่รับผิดชอบตนเองของทุกคน สุขศึกษาเป็นรายวิชาที่จะช่วยทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงแนวคิด หลักการและวิธีการที่จำเป็นเบื้องต้นในการสร้างเสริม ดูแล และป้องกันโรคและอันตรายต่อสุขภาพ หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงทุกรูปแบบ ที่จะทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพในการดำรงชีวิตประจำวันของตัวเรา นอกจากเนื้อหาความรู้ที่จำเป็น ทั้งหลักปฏิบัติเบื้องต้นด้านพฤติกรรมสุขภาพ การกิน การอยู่การดูแลสุขอนามัย การเคลื่อนไหวออกกำลังกาย หรือครบมิติสุขภาพด้านกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมจิตวิญญาณ ตัวเราต้องตระหนักถึงการลดหรือควบคุมพฤติกรรมเสี่ยงจากพฤติกรรมทางเพศ พฤติกรรมเสพติดและการใช้สารเสพติด พฤติกรรมรุนแรง...

คู่มือครู แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้สุขภาวะ (ปรับปรุงใหม่)

0
การเปลี่ยนแปลงของสังคมและเทคนโลยีได้ส่งผลถึงมิติในการพัฒนาเยาวชนวัยเรียนในด้านการดูแลสุขภาพไม่น้อยไปกว่าการพัฒนาทางด้านวิชาการอื่น ๆ แก่นของการสร้างสุขภาพนั้นเป็นเรื่องที่ต้องมีปัจจัยสนับสนุนมากกว่าการมีเพียงความรู้ที่ถูกต้อง สุขภาพที่ดีต้องอาศัยความสนใจและใส่ใจรวมถึงการลงมือทำเป็นกิจวัตรจนส่งผลให้เกิดสุขภาพที่ดีสำหรับตนเองและส่วนรวม ในขณะที่พัฒนาการของเทคโนโลยีก้าวไปด้วยอัตราเร่ง สิ่งที่เกิดตามมาคือ ความรู้เดิมถูกหักล้างทดแทนด้วยข้อค้นพบใหม่เยาวชนมีโอกาสเข้าถึงข้อมูลทั้งที่เป็นข้อเท็จจริงและคำโฆษณาชวนให้เชื่ออยู่ตลอดเวลา รูปแบบการบริโภค การใช้ชีวิต วิถีความสัมพันธ์ในระดับครอบครัวและสังคมได้เปลี่ยนไปอย่างมาก จนเห็นผลกระทบได้อย่างชัดจนว่าโรคภัยไข้เจ็บได้เปลี่ยนแบบแผนไปจากการมีเชื้อโรคเป็นสาเหตุไปสู่โรคที่มาจากการที่มนุษย์กระทำกับตัวเองและกระทำกับสิ่งแวดล้อมจนขาดสมดุล และนำไปสู่การเจ็บป่วยในอันดับต้น ๆ ของมนุษย์ในยุคปัจจุบัน ดังนั้น กรอบแนวคิดและกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้กับเยาวชนในเรื่องสุขภาพจึงจำเป็นต้องปรับเปลี่ยน และการปรับเปลี่ยนนี้ไม่ได้มีเป้าหมายอยู่ที่การทำให้แต่ละคนสามารถดูแลตัวเองให้มีสุขภาพดีเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงการสร้างความตระหนัก และการมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมของชุมชนและของโลกด้วย ปัจจัยสำคัญของการปรับเปลี่ยนแนวคิดและกระบวนการจัดการเรียนรู้ คือ การสร้างความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต แทนการได้รับความรู้ที่ถ่ายทอดจากครูผู้สอนเท่านั้นการเรียนรู้ดังกล่าวในมิติของสุขภาพ หมายถึง การนำไปลงมือปฏิบัติจนเกิดเป็นลักษณะนิสัยและเกิดผลโดยตรงทันทีต่อการใช้ชีวิต เพราะสุขภาพเป็นผลลัพธ์ของการกระทำมากกว่าการมีความรู้...

คู่มือครู การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้สุขภาวะ (ปรับปรุงใหม่)

0
คู่มือเล่มนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อชวนคิด และทดลองทำการวัดประเมินผลการเรียนรู้ทางด้านสุขภาวะในแบบที่ช่วยให้เราสามารถปรับปรุงกระบวนการให้นำไปสู่การสร้างทักษะที่ช่วยให้นักเรียนสามารถที่จะเรียนรู้ตลอดชีวิตได้จริง และการเรียนรู้นั้นนำไปสู่การดูแลสุขภาพ การสร้างสัมพันธภาพ และคุณภาพของสิ่งแวดล้อมที่ดีของบุคคล ครอบครัว และชุมชนได้จริง นอกจากเป็นคู่มือสำหรับการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน คู่มือเล่มนี้ยังมุ่งชวนให้ครูได้ทบทวนประเมินตนเองร่วมไปกับการประเมินนักเรียน การทบทวนประเมินตนเองของครูนี้ นอกจากการทบทวนเรื่องการสร้างให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ยังชวนให้ครูได้ไตร่ตรองถึงการเรียนรู้ของตนเองรวมไปถึงการทำงานร่วมกับชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC - Professional Learning Community) อีกด้วย การเปลี่ยนแปลงในโลกที่เคลื่อนที่เร็วเรียกร้องให้ครูเรียนรู้ตลอดเวลาทั้งในแง่ที่เกิดจากความสนใจใคร่รู้ของตัวเองหรือจากแรงผลักดันของระบบบริหารจัดการ ทัศนะของครูต่อการเปลี่ยนแปลงมีผลอย่างมากในการเข้าถึงศักยภาพที่สูงสุดของตนเอง การเป็นผู้ "เลือกทำ อย่างเต็มใจ"ย่อมทำให้มีพลังและมีความสุขกับการเปลี่ยนแปลง ทำให้แสดงบทบาทได้อย่างสร้างสรรค์และนำทางให้เกิดสิ่งเดียวกันนั้นกับนักเรียน ขอให้คำถามต่าง ๆ...