25 คำนิยามศัพท์ ที่เกี่ยวกับเรื่อง “ความเสมอภาคระหว่างเพศ”  [1 สิงหาคม 2555] 

0
ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล, (๒๕๕๔) รวบรวมและเรียบเรียงเป็นภาษาไทย. โครงการพัฒนาผู้ผลิตอิสระระดับบุคคล ชุมชม เพื่อพัฒนารายการทีวีเพื่อการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างเพศในสื่อสาธารณะ ดำเนินโครงการโดยองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.)    

10 เคล็ดลับของการเป็นทีมวิทยากรร่วม 10 TIPS-FOR-CO-FACILITATING BY JEANETTE ROMKEMA  [6 พฤศจิกายน 2555] 

0
 โดย: HTTP://GLOBALLEARNINGPARTNERS.COM/BLOG/10-TIPS-FOR-CO-FACILITATING           สำหรับ MT หรือวิทยากรหลักการจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษารอบด้าน เชื่อว่าหลายคนต่างเคยแตะสลับ หรือเปลี่ยนมือกันเป็น F1 F2 และ F3 กันมาบ้างแล้ว เรามาเรียนรู้เทคนิคการเตรียมตัวเพื่อเป็นทีมที่เข้าขากัน ดังนี้ เช็คความพร้อมกันล่วงหน้าเพื่อวางแผนและตกลงร่วมกันว่าใครจะรับผิดชอบอะไร มีบทบาทอย่างไร ทำอะไร ในแต่ละช่วงเวลา บอกความคาดหวังกับเพื่อนร่วมทีมว่าเราคาดหวังอย่างไร เพื่อให้งานบรรลุจุดมุ่งหมาย และเป็นการทำความเข้าใจร่วมกันกันระหว่างทีมงาน เช็คกันเป็นระยะสั้นๆ ไม่ต้องยืดยาว เพื่อให้กิจกรรมไหลลื่น และไม่รบกวนกระบวนการหรือการทำกิจกรรมของผู้เข้าร่วม เช่น หากต้องการจบกิจกรรมก่อนเวลา หรือต้องการอุปกรณ์ที่จะต้องใช้ ทบทวนหรือตรวจสอบก่อนและหลังการจัดอบรมก่อนลงมือจัดกิจกรรมควรทบทวน...

หลักการสำคัญของการให้การศึกษาเรื่องเพศและสุขศึกษา (PUBERTY AND HEALTH EDUCATION – PHE) ที่ครอบคลุมประเด็นเพศสภาพที่หลากหลาย [5 เมษายน 2562]

0
โดยทั่วไป การให้การศึกษาเรื่องเพศและสุขศึกษา (PHE) เป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกายเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น ลักษณะเฉพาะของเพศหญิงชาย อารมณ์ และความสัมพันธ์ แต่ประเด็น เพศสภาพ (Gender) กลับไม่ได้รับความสำคัญ หรือถูกกล่าวถึงน้อยมาก แม้กระทั่งในหลักสูตรสุขศึกษาที่มีเนื้อหาครอบคลุมรอบด้าน การให้การศึกษาเรื่องเพศและสุขศึกษา (PHE) ที่ครอบคลุมเนื้อหาเรื่องเพศสภาพที่หลากหลายอย่างชัดเจนมีประโยชน์ต่อนักเรียนทุกคน นอกจากเป็นการแสดงถึงการยอมรับและยืนยันตัวตนของนักเรียนทุกคนแล้ว การรับรู้ถึงการยอมรับและเห็นตัวเองปรากฎหรือเป็นส่วนหนึ่งในเนื้อหาหลักสูตรมีแนวโน้มที่จะช่วยให้นักเรียนประสบความสำเร็จในการเรียน เยาวชนทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับข้อมูลที่ถูกต้องรอบด้านเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในเรื่องร่างกายและเรื่องสัมพันธภาพที่จะส่งผลดีกับตนเอง นอกเหนือจากการเรียนรู้เพื่อเข้าใจพัฒนาการที่มีลักษณะเฉพาะของตนเองแล้ว ความเข้าใจถึงประสบการณ์ที่แตกต่างหลากหลายที่แต่ละคนต้องเผชิญเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็เป็นอีกเรื่องที่สำคัญ ในช่วงการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่วัยรุ่นที่นักเรียนต้องพยายามรับมือและทำความเข้าใจกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วทั้งทางร่างกายและอารมณ์ความรู้สึก การไม่สามารถเข้าถึงเนื้อหาวิชาสุขศึกษาที่ครอบคลุมถึงเรื่องเพศสภาพที่หลากหลายในจังหวะเวลาสำคัญของชีวิตที่คนๆ หนึ่งกำลังค้นหาว่าเราคือใครและจะเชื่อมสัมพันธ์กับผู้อื่นอย่างไร อาจทำให้เยาวชนหลายคนรู้สึกโดดเดี่ยว จากการถูกทำให้รู้สึกและถูกทำให้เชื่อว่าพวกเขาไม่มีที่ทางของตนเองบนโลกใบนี้ ความรู้สึกโดดเดี่ยวและการถูกมองไม่เห็นนี้...