คู่มือการใช้การ์ตูน
เรื่องที่คุณอาจสนใจ
ทำไมถึงมีเซ็กซ์ไม่ได้..ในเมื่อ..เรามั่นใจในกันและกัน
ทำไม ผู้ใหญ่เขาถึงห้าม ถึงกีดกัน ปกปิด ไม่ให้ วัยรุ่น รู้จักและมีเซ็กซ์ ในเมื่อเรามีความต้องการทางร่างกาย ทั้งจิตใจเราสองคนก็ตรงกัน รู้ใจกันมากนัก ทำไมเราถึงมีเซ็กซ์กันไม่ได้ ตอบง่ายๆ พวกผู้ใหญ่เชื่อว่า เรา วัยรุ่น ยังรับมือกับสิ่งที่จะเกิดตามมาไม่ได้น่ะสิ ...
ผลึกความคิด
เจตนาของบทความนี้ เพื่อเป็นการรวบรวมข้อคิดเห็น และการสะท้อนการเรียนรู้ของผู้จัดการหรือหัวหน้าโครงการในองค์กรภาคีหลักที่ทำหน้าที่เป็นหน่วยจัดการ (Node) ควบคุมกำกับให้เกิดการดำเนินงาน ผลักดันการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้เกิดผลตามความคาดหวังของโครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจ หลังจากร่วมดำเนินงานกับองค์การ PATH เป็นระยะเวลา ๒-๕ ปี (แต่ละหน่วยมีการเข้าร่วมโครงการในระยะเวลาต่างๆ กัน)...
คู่มือครู การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้สุขภาวะ (ปรับปรุงใหม่)
คู่มือเล่มนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อชวนคิด และทดลองทำการวัดประเมินผลการเรียนรู้ทางด้านสุขภาวะในแบบที่ช่วยให้เราสามารถปรับปรุงกระบวนการให้นำไปสู่การสร้างทักษะที่ช่วยให้นักเรียนสามารถที่จะเรียนรู้ตลอดชีวิตได้จริง และการเรียนรู้นั้นนำไปสู่การดูแลสุขภาพ การสร้างสัมพันธภาพ และคุณภาพของสิ่งแวดล้อมที่ดีของบุคคล ครอบครัว และชุมชนได้จริง
นอกจากเป็นคู่มือสำหรับการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน คู่มือเล่มนี้ยังมุ่งชวนให้ครูได้ทบทวนประเมินตนเองร่วมไปกับการประเมินนักเรียน การทบทวนประเมินตนเองของครูนี้ นอกจากการทบทวนเรื่องการสร้างให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ยังชวนให้ครูได้ไตร่ตรองถึงการเรียนรู้ของตนเองรวมไปถึงการทำงานร่วมกับชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC - Professional...
คู่มือการจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษา สำหรับเยาวชนช่วงชั้นที่ ๓ (มัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓)
คู่มือการจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษาสำหรับเยาวชนในช่วงชั้น ๓ (ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ถึง มัธยมศึกษาปีที่ ๓) เล่มนี้ จัดทำขึ้นภายใต้โครงการ 'ก้าวย่างอย่างเข้าใจ' อันเป็นโครงการภายใต้ความร่วมมือระหว่างกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข ภาคีจากองค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์และภาคธุรกิจ ภายใต้การสนับสนุนบประมาณจากโครงการกองทุนโลกเพื่อแก้ไขปัญหาเอดส์...
รายงานผลสรุปการประเมินโครงการ การจัดการเรียนรู้เพศศึกษา “ก้าวย่างอย่างเข้าใจ” : ผลลัพธ์ในกลุ่มผู้เรียน (พ.ศ.2549 – 2551)
ตลอดระยะเวลาที่โครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจ ที่องค์การ PATH เป็นผู้ดำเนินการหลัก ร่วมกับหลากหลายหน่วยงานภาคี ทั้งจากภาคการศึกษา สาธารณสุข และองค์กรพัฒนาเอกชน โดยได้เริ่มดำเนินงาน เพื่อผลักดันให้เพศศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรสถานศึกษา มาตั้งแต่ปี 2547 ภายใต้การสนับสนุนของสำนักงานบริหารกองทุนโลกเพื่อเอดส์ วัณโรค...