หนังสือสุขศึกษา ม.๓
เรื่องที่คุณอาจสนใจ
กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโต ชาย-หญิง
แหล่งอ้างอิง: สำนักโภชนการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
แนวคิดในการออกแบบการจัดการเรียนรู้สำหรับครูและผู้ปฏิบัติงานด้านเพศศึกษาสำหรับเยาวชน
โครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจ เป็นโครงการที่มีเป้าหมายเพื่อจะสร้างสุขภาวะในเรื่องเพศแก่เยาวชน ผ่านการสร้างการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาแก่ผู้ปฏิบัติงานที่เป็นผู้ใหญ่ และเยาวชนทั้งในแวดวงการศึกษา การสาธารณสุข และการพัฒนาเยาวชนเพื่อขยายความเข้าใจเรื่องเพศวิถี และส่งเสริมการใช้ชีวิตทางเพศอย่างปลอดภัยและรับผิดชอบ โดยเฉพาะการบ่มเพาะเยาวชนแต่เยาว์วัย ให้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีวุฒิภาวะทางเพศ ให้ได้รับการเรียนรู้ ทั้งในสถานศึกษาครอบครัว ชุมชน พื้นที่สาธารณะ และสื่อสารมวลชน
โครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจมีระยะเวลาในการดำเนินงานห้าปี...
หนุ่มน้อย..กับร่างกายของผม
เด็กผู้ชายจะเข้าสู่วัยรุ่นช้ากว่าเด็กผู้หญิง 2-3 ปี คืออายุประมาณ 13-14 ปี เมื่อก้าวเข้าสู่วัยหนุ่ม ร่างกายจะผลิตฮอร์โมนเพศชายขึ้น นำไปสู่การปรับเปลี่ยนของรูปร่างภายนอกอย่างขนานใหญ่ไม่แพ้ผู้หญิงเหมือนกัน นั่นคือ เด็กผู้ชายจะมีความสูงเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว บริเวณไหล่และหน้าอกจะขยายออกอย่างที่เขาเรียกกันว่า "อกสามศอก"...
คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับสุขภาวะ
"ความรอบรู้ด้านสุขภาพ" (health literacy) หมายถึง การมีความรู้และทักษะในการเข้าถึงข้อมูลและสามารถใช้ข้อมูลความรู้นั้น เพื่อการมีสุขภาพที่ดีหรือมีสุขภาวะ รวมถึงการจัดปัจจัยแวดล้อมให้ส่งผลต่อการสร้างเสริมสุขภาพ สุขภาพจึงมีนัยถึงการเสริมพลังอำนาจ (empowerment) ให้บุคคลรู้จักเลือกดูแลตนเอง และร่วมกันกับผู้อื่นเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน สังคม และโลก ให้เกิดเงื่อนไขที่เหมาะสมต่อการมีสุขภาพที่ดี...
คู่มือการจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
"คู่มือการจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษาแบบรอบด้าน (Comprehensive Sexuality Education) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑" ที่ท่านถืออยู่ในมือเล่มนี้ ซึ่งปรับปรุงจาก "คู่มือการจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษาสำหรับเยาวชน ช่วงชั้นที่ ๓ (มัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓)" และ...