หนังสือเล่มนี้ ส่งเสริมทางเลือกที่เหมาะสมสำหรับผู้หญิงท้องไม่พร้อมทุกคนที่อาจไม่จำเป็นต้องเลือกเหมือนกัน โดยเราเคารพการตัดสินใจนั้นแบบไม่ตีตราและหวังว่าทางเลือกนั้น จะเป็นทางเลือกที่ปลอดภัย
เรื่องที่คุณอาจสนใจ
แผนการเรียนรู้เพศวิถี และ สัมพันธภาพศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
มูลนิธิแพธทูเฮลท์ (path2heath foundation-p2h) โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.) ได้ดำเนินโครงการพัฒนาหลักสูตรและนำร่องเพศวิถีศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษา ๑๐ จังหวัด...
เมื่อท้องไม่พร้อม ผู้หญิงมีสิทธิ์เลือก?
เพราะว่าผู้หญิงเป็นเจ้าของร่างกาย จึงมีสิทธิโดยชอบธรรมต่อร่างกายของตนเอง ซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ การบังคับให้ผู้หญิงตั้งครรภ์ต่อ...
คู่มือครู แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้สุขภาวะ (ปรับปรุงใหม่)
การเปลี่ยนแปลงของสังคมและเทคนโลยีได้ส่งผลถึงมิติในการพัฒนาเยาวชนวัยเรียนในด้านการดูแลสุขภาพไม่น้อยไปกว่าการพัฒนาทางด้านวิชาการอื่น ๆ แก่นของการสร้างสุขภาพนั้นเป็นเรื่องที่ต้องมีปัจจัยสนับสนุนมากกว่าการมีเพียงความรู้ที่ถูกต้อง สุขภาพที่ดีต้องอาศัยความสนใจและใส่ใจรวมถึงการลงมือทำเป็นกิจวัตรจนส่งผลให้เกิดสุขภาพที่ดีสำหรับตนเองและส่วนรวม ในขณะที่พัฒนาการของเทคโนโลยีก้าวไปด้วยอัตราเร่ง สิ่งที่เกิดตามมาคือ ความรู้เดิมถูกหักล้างทดแทนด้วยข้อค้นพบใหม่เยาวชนมีโอกาสเข้าถึงข้อมูลทั้งที่เป็นข้อเท็จจริงและคำโฆษณาชวนให้เชื่ออยู่ตลอดเวลา รูปแบบการบริโภค การใช้ชีวิต วิถีความสัมพันธ์ในระดับครอบครัวและสังคมได้เปลี่ยนไปอย่างมาก จนเห็นผลกระทบได้อย่างชัดจนว่าโรคภัยไข้เจ็บได้เปลี่ยนแบบแผนไปจากการมีเชื้อโรคเป็นสาเหตุไปสู่โรคที่มาจากการที่มนุษย์กระทำกับตัวเองและกระทำกับสิ่งแวดล้อมจนขาดสมดุล และนำไปสู่การเจ็บป่วยในอันดับต้น ๆ ของมนุษย์ในยุคปัจจุบัน
ดังนั้น...
10 เคล็ดลับของการเป็นทีมวิทยากรร่วม 10 TIPS-FOR-CO-FACILITATING BY JEANETTE ROMKEMA [6 พฤศจิกายน 2555]
โดย: HTTP://GLOBALLEARNINGPARTNERS.COM/BLOG/10-TIPS-FOR-CO-FACILITATING
สำหรับ MT หรือวิทยากรหลักการจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษารอบด้าน เชื่อว่าหลายคนต่างเคยแตะสลับ หรือเปลี่ยนมือกันเป็น F1 F2 และ F3 กันมาบ้างแล้ว เรามาเรียนรู้เทคนิคการเตรียมตัวเพื่อเป็นทีมที่เข้าขากัน ดังนี้
เช็คความพร้อมกันล่วงหน้าเพื่อวางแผนและตกลงร่วมกันว่าใครจะรับผิดชอบอะไร มีบทบาทอย่างไร...
ชุดกิจกรรมและสื่อการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตสำหรับเยาวชนอาชีวศึกษา ชุดที่ ๖ เส้นทางชีวิต
จากการให้ความสำคัญต่อการดูแลสุขภาวะทางเพศของเยาวชนอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ได้ดำเนินการสอนเพศศึกษามาตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๔๗ ตามคำสั่ง สอศ. ที่ ๔๙๕/๒๕๔๗ ให้บรรจุเพศศึกษาเป็นวิชาเลือกเสรี ภายใต้กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา หมวดสามัญ ใช้ชื่อว่า "วิชาเพศศึกษา"...