คู่มือการใช้การ์ตูน
เรื่องที่คุณอาจสนใจ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมเพศวิถีศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่๑
หนังสืออ่านเพิ่มเติมเพศวิถีศึกษา สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑, ๒, ๓ ชุดนี้จัดทำขึ้นภายใต้โครงการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เพศวิถีศึกษารอบด้านสำหรับสถานศีกษาหรือ "ก้าวย่างอย่างเข้าใจ" ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก สำนักงานบริหารโครงการกองทุนโลกเพื่อการแก้ไขปัญหาเอดส์ วัณโรค และมาลาเรีย (The Global Fund...
นับ “หน้า 7 – หลัง 7” ปลอดภัยจริงหรือ
การนับรอบเดือนจะนับตั้งแต่วันแรกที่ประจำเดือนมา จนถึงวันก่อนมีประจำเดือนครั้งต่อไป รอบเดือนโดยเฉลี่ยคือ 28 วัน ซึ่งบางคนอาจจะสั้นหรือนานกว่านี้ ทั้งหญิงและชายจะเรียนรู้รอบเดือนของผู้หญิงได้โดยการสังเกตและจดบันทึกทุกเดือน การนับระยะปลอดภัยเพื่อป้องกันการท้องนี้จะใช้ได้ผลเฉพาะผู้หญิงที่มีรอบเดือนสม่ำเสมอเท่านั้น
วิธีนับ "หน้าเจ็ด" ให้นับล่วงหน้า 7 วัน ก่อนวันที่คาดว่าประจำเดือนจะมา และ "หลังเจ็ด" ให้นับตั้งแต่วันแรกที่ประจำเดือนมาเป็นวันที่หนึ่งและนับต่อไปอีก 6 วัน...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เพศศึกษาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ผู้ใช้ชุดกิจกรรม "ก้าวย่างอย่างเข้าใจ" นี้ ได้แก่ ครูอาจารย์ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือเจ้าหน้าที่องค์การพัฒนาเอกชนที่ต้องการดำเนินกิจกรรมเพศศึกษา และเอดส์สำหรับเยาวชนอย่างต่อเนื่อง และสอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ที่เน้น "ผู้เรียนเป็นสำคัญ" (Child-centered) โดยกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับประโยชน์โดยตรง คือ เยาวชนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒...
คู่มือการจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษา ประกอบการจัดการเรียนรู้วิชาเพศศึกษา รหัสวิชา ๒๐๐๐-๑๖๑๒ ในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ.๒๕๔๕ (ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๔๖)
คู่มือการจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษาเล่มนี้จัดพิมพ์ขึ้นเป็นครั้งที่ ๒ เพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้วิชาเพศศึกษาตามหลักสูตรรายวิชา "เพศศึกษา" (รหัสวิชา ๒๐๐๐-๑๖๑๒) กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา หมวดวิชาสามัญ ในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๕ (ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๔๖) โดยการสนับสนุนของโครงการ...