เรื่องที่คุณอาจสนใจ
คู่มือการจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
"คู่มือการจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษาแบบรอบด้าน (Comprehensive Sexuality Education) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒" ที่ท่านถืออยู่ในมือเล่มนี้ ซึ่งปรับปรุงจาก "คู่มือการจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษาสำหรับเยาวชน ช่วงชั้นที่ ๓ (มัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓)" และ...
สาระสุขศึกษา ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ปรับปรุงใหม่)
การมีสุขภาพที่ดี และมีสุขภาวะเป็นภาวะที่สมบูรณ์ในทุกด้านทั้งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมสติปัญญาหรือจิตวิญญาณ ไม่ใช่เพียงการไม่มีโรคภัยไข้เจ็บเพียงเท่านั้น การสร้างเสริมสุขภาวะจึงเป็นหน้าที่รับผิดชอบตนเองของทุกคน สุขศึกษาเป็นรายวิชาที่จะช่วยทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงแนวคิด หลักการและวิธีการที่จำเป็นเบื้องต้นในการสร้างเสริม ดูแล และป้องกันโรคและอันตรายต่อสุขภาพ หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงทุกรูปแบบ ที่จะทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพในการดำรงชีวิตประจำวันของตัวเรา
นอกจากเนื้อหาความรู้ที่จำเป็น ทั้งหลักปฏิบัติเบื้องต้นด้านพฤติกรรมสุขภาพ...
UP TO ME ชีวิตมีทางเลือก (Handbook)
ในประเทศไทย มีวัยรุ่นอายุ ๑๐-๑๙ ปี ประมาณ ๑๐ ล้านคน เป็นชายหญิงในสัดส่วนที่เท่ากัน และเป็นวัยรุ่นที่อยู่นอกระบบการศึกษาประมาณสองล้านคน
สถิติสาธารณสุข พบว่า การคลอดของวัยรุ่นในปี พ.ศ.๒๕๕๒ มีจำนวนมากถึง ๑๒๒,๗๓๖...
คู่มือครู การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้สุขภาวะ (ปรับปรุงใหม่)
คู่มือเล่มนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อชวนคิด และทดลองทำการวัดประเมินผลการเรียนรู้ทางด้านสุขภาวะในแบบที่ช่วยให้เราสามารถปรับปรุงกระบวนการให้นำไปสู่การสร้างทักษะที่ช่วยให้นักเรียนสามารถที่จะเรียนรู้ตลอดชีวิตได้จริง และการเรียนรู้นั้นนำไปสู่การดูแลสุขภาพ การสร้างสัมพันธภาพ และคุณภาพของสิ่งแวดล้อมที่ดีของบุคคล ครอบครัว และชุมชนได้จริง
นอกจากเป็นคู่มือสำหรับการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน คู่มือเล่มนี้ยังมุ่งชวนให้ครูได้ทบทวนประเมินตนเองร่วมไปกับการประเมินนักเรียน การทบทวนประเมินตนเองของครูนี้ นอกจากการทบทวนเรื่องการสร้างให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ยังชวนให้ครูได้ไตร่ตรองถึงการเรียนรู้ของตนเองรวมไปถึงการทำงานร่วมกับชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC - Professional...